GO!GO! タイローカル工場
第15回 Natural Latex Mattress Industry(Thailand)Co., Ltd.
ナチュラル・ラテックス・マットレス・インダストリー(タイランド)は2011年に設立された枕・寝具一般のメーカーで、ゴムの原液を加工して100%天然パラゴム製の枕を生産している。枕を中心に寝具一般の生産も進めており、内外の顧客から定評を得ている。
同社のパイサーン社長は「生産については農家からゴムの原液を入手することに始まります」と話す。そこで原液採取後60~90日を過ぎない原材料が同社の製品にもっとも適しているという。60%の濃度が最適で、農家から原液を買い集める大手民間より1日2.5トンを調達。すべてタイ南部原産のゴム液である。パイサーン社長は「ゴムは相場商品で、株式と同じく相場が上下します。タイは世界的なゴム生産国でありながら、ゴムの先物市場が立ちません。中国の大資本家が動くとき相場が立つ状況ですね」と語る。
同社は大手民間の2社より原液を調達するが、その際に契約を交わす。1回30トンを5回購入する、といった契約である。ゴムの相場を管理することが不可能なためで、小口の契約となる。実際の購入に際しては品質を確認した後、問題がなければ搬入して生産工程に乗せる。
パイサーン社長は続けて語る。「最近、ゴム製品の市場には多様な製品が出回っており、当社も新製品を出して成長を支えなければいけません。現在、ゴム枕は月産1万個のペースを維持しています。寝具の方は生産に時間がかかり、年産5,760ケースのペースです。今年は前年比15%増が目標です」。
主な顧客は中国、韓国。国内のタイ人でも、工場まで来て工場渡し価格で買って行く人が多くなったという。多くは小売人で、自分のロゴを貼り付けて転売している模様。今年中には、来年の日本への輸出計画を完成させる。日本人は床に布団を敷いて寝る習慣があるので、日本市場の特性を深く分析する必要がある。日本の文化に合わせて製品の特性を調整する必要もあるだろう。パラゴム製の枕と寝具の特徴は、ホコリが付かず、筋肉を疲れさせないこと。価格については枕が1個1,290バーツ、ベッドが1台2万~7万バーツ。健康志向の消費者に支持されている。
บริษัท เนเชอรัล เลเท็กซ์ ฯ ผลิตหมอนยางพารา 10,000 ใบ/เดือน
พร้อมขยายตลาดไปญี่ปุ่น ปี 61
บริษัท เนเชอรัล เลเท็กซ์ แมทเทรส อินดัสตรี (ไทยแลนด์) จำกัด เริ่มก่อตั้งโรงงานเมื่อปี พ.ศ. 2554 ดำเนินกิจการเกี่ยวกับการแปรรูปน้ำยางพาราสดผ่านกระบวนการผลิตให้เป็นที่นอนยางพาราธรรมชาติ 100% เพื่อเป็นวัตถุดิบชั้นเลิศในที่นอนและหมอนยางพาราสำเร็จรูปที่มีมาตรฐาน ซึ่งเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคทั้งในไทยและต่างประเทศ
นายไพศาล จรุงกีรติวงศ์ ประธานบริษัท เนเชอรัล เลเท็กซ์ แมทเทรส อินดัสตรี (ไทยแลนด์) จำกัด ผู้ผลิตหมอนและที่นอนยางพารา เผยถึงการผลิตสินค้าจากยางพารา ขั้นตอนเเรกต้องดูน้ำยางจากเกษตรกร ทางบริษัทจะกำหนดไปไม่เกิน 60-90 วัน เพราะเหมาะที่จะนำมาทำผลิตภัณฑ์ โดยเลือกซื้อน้ำยางข้น 60% เป็นวัตถุดิบหลัก 2.5 ตัน/วัน จากเอกชนรายใหญ่ที่รับซื้อน้ำยางพาราจากเกษตรภาคใต้ทั้งหมด”ยางเป็นสินค้าในตลาดหลักทรัพย์เหมือนหุ้นตัวหนึ่งที่ขึ้นเเละลงทุกวัน บ้านเราเป็นผู้ผลิตรายใหญ่เเต่ไม่มีตลาดซื้อขายแนวหน้า โดยตลาดใหญ่ๆ กับไปอยู่ที่นายทุนจากจีน”
สำหรับขั้นตอนการผลิตสินค้าจากยางพาราว่า ขั้นเเรกจะมีการทำสัญญาซื้อน้ำยางกับผู้ขายน้ำยางรายใหญ่ 2 ราย ในสัญญา 1 รอบจะซื้อน้ำยางพาราจำนวน 5 ครั้ง ครั้งละ 30 ตัน เพื่อป้องกันราคายางที่ควบคุมไม่ได้ เเละทำให้รู้ว่าต้นทุนเเต่ละครั้งอยู่ที่เท่าไหร่ และก่อนจะรับซื้อน้ำยางจะมีการนำไปตรวจสภาพว่าได้คุณภาพมากเเค่ไหน จึงจะนำมาเข้าสู่กระบวนการผลิต แปรรูปต่อไป
นายไพศาล กล่าวต่อไปว่า ขณะนี้ ตลาดยางพารามีสินค้าหลายรูปแบบ จึงต้องมีการพัฒนาแบบใหม่ๆ ออกมารองรับการเติบโต ทั้งนี้บริษัทฯ ผลิตหมอนได้เดือนละ 10,000 ใบ ส่วนที่นอนเนื่องจากกำลังการผลิตต้องใช้เวลานานกว่าจึงผลิตได้เพียงปีละ 5,760 หลัง ตั้งเป้าเติบโตร้อยละ 15 ภายในปี 60
กลุ่มลูกค้าหลักในตอนนี้คือประเทศจีน เกาหลี รวมทั้งคนไทยที่มาซื้อราคาโรงงานทีละมาก ๆ เพื่อนำไปขายต่อ หรือติดโลโก้ขายเป็นของตัวเอง บริษัทเองในปีนี้มีเเผนส่งออกญี่ปุ่นในปีหน้า ทั้งยังต้องดูกลุ่มผู้บริโภคของญี่ปุ่น เพราะมีวัฒนธรรมนอนพื้น อาจต้องปรับเป็นผลิตภัณฑ์รองเบาะนอน ลักษณะเด่นของหมอนเเละที่นอนจากยางพาราคือกันไรฝุ่นลดการปวดกล้ามเนื้อ ส่วนราคาของผลิตภัณฑ์นั้นหมอนจะอยู่ที่ราคา 1,290 บาท ส่วนที่นอนเริ่มต้น 20,000-70,000 บาท แต่ก็มีลูกค้าที่พร้อมจะจ่ายเพื่อความใส่ใจสุขภาพที่มากขึ้น
関連記事
泰日工業大学 ものづくりの教育現場から
第85回『 タイと日本の王室・皇室交流② 』
タイでものづくり教育を進める泰日工業大学(TNI)の例をもとに、中核産業人材の採...
泰日工業大学 ものづくりの教育現場から
第105回 『TNI経営学部で何を学ぶか』
タイでのものづくり教育を進める泰日工業大学(TNI)の例をもとに、中核産業人材の...