GO!GO! タイローカル工場
第32回 Mondelez International (Thailand) Co., Ltd.
タイ工場をメディアに初公開 中国、日本など世界15カ国へ輸出
アジア太平洋、中東、アフリカにまたがるキャンディーとガムの世界的企業モンデリーズのタイ法人モンデリーズ・インターナショナル(タイランド)はモンデリーズ、デンティーン、クロレッツ、トライデント、ストライクなど200種を超える商品を扱っている。
モンデリーズ・インターナショナル(タイランド)のジラポン・ジャルンシー工場長は「モンデリーズはキャンディーとガムの世界的な企業です。ホール、クロレッツのキャンディーやデンティーンのガムは長年おなじみですね。タイにはこのほかにオレオやルーのクッキー、リッツのクラッカー、カドバリーやトップバロンのチョコレート、フィラデルフィアのチーズなどを輸入し、販売しています。またタイには2つの工場を持ち、2007年に開設したラックラバン工業団地の30ライの工場は、高品質のキャンディーとガムの生産基地で、ISO9001、FSSC、GMP、ハラールなどの認証を取得しています。コーンケン県の工場は輸出用の粉末ドリンクの生産をしています。ラックラバン工場ではIL6S(インテグレーテッド・リーンシックスシグマ)が導入され、効率の高い生産管理が実現しました。加えてオートメーション、コンピュータシステムも取り入れています。コストを削減し、生産効率向上に役立っています」と語る。
年産は約3万9,000トン。内訳はキャンディーが60%、ガムが40%。国内向けは37%で、輸出向けが63%。中国、日本、韓国、ニュージーランド、オーストラリア、南アフリカが主要な輸出先となっており、その他アジア太平洋、中東、アフリカなどの15カ国に出荷している。また、毎年4億5,000万バーツを新商品の研究開発などに投資しているという。
ジラポン工場長は「アセアン市場ではマレーシアとベトナムでの売上が突出しています。インドネシア、タイ、フィリピンは今後の伸びが期待されます。アセアン市場での販売競争を積極的に進めます。時期に応じて適切なキャンペーンを打ち、小売パートナーと手を組んで多様な販売ルートに食い込みます。顧客の選択肢を増やすために、商品の多様化も止まりません。当然、付加価値アップも進めます」と話す。
ラックラバン工場の強みは、環境に優しいクリーンな工場であること。従来より使用エネルギーを37%削減、二酸化炭素放出を64%削減した。年間1万4,220トンに当たる。これらにより8,100万バーツのコストが削減できた。また、コーンケン工場は同社初の再生可能エネルギー100%で稼働している。
「当社の工場は堅固で安定した生産工程の管理だけではなく、当社の高い基準に沿って高品質の製品を作ることが目的です。効率性の追求と、従業員の意識の向上を絶やすことなく続けます。そして、各国の消費者に合った多様な商品を開発していきます」とジラポン工場長は力を込めた。
เปิดบ้านมอนเดลีซครั้งแรกในไทย พร้อม ยกระดับศักยภาพการผลิตครอบคลุมสามภูมิภาคทั่วโลก
บริษัท มอนเดลีซ อินเตอร์เนชันแนล (ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้ผลิต ลูกอม และหมากฝรั่ง ที่ใหญ่ที่สุดของมอนเดลีซในเอเชียแปซิฟิก ตะวันออกกลาง และแอฟริกา โดยมีลูกอม และหมากฝรั่งกว่า 200 ผลิตภัณฑ์ ภายใต้แบรนด์ฮอลล์ เดนทีน คลอเร็ท ไทรเด้นท์ และสไตรด์ เป็นต้น
คุณจิรพงษ์ เจริญศรี ผู้จัดการโรงงาน บริษัท มอนเดลีซ อินเตอร์เนชันแนล (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า มอนเดลีซ เป็นผู้นำอันดับ 1 ทั้งในตลาดลูกอมและตลาดหมากฝรั่งระดับโลก ซึ่งมีแบรนด์หลัก ได้แก่ ลูกอมฮอลล์ หมากฝรั่งเดนทีน และลูกอมคลอเร็ท นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำเข้าและทำตลาดสินค้าแบรนด์อื่น ๆ ในประเทสไทย เช่น คุ้กกี้โอรีโอ แคร็กเกอร์ริทส์ ช็อกโกแลตแคดเบอรี คุกกี้ลู ชีสฟิลาเดลเฟีย และช็อกโกแลตทอปเบอโรน โดยมีโรงงานผลิตสองแห่ง ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง ขนาด 30 ไร่ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการผลิตลูกอมและหมากฝรั่งที่มีระบบการจัดการด้านคุณภาพที่เข้มแข็งภายใต้การรับรองโดยISO 9001 / FSSC / GMP / Halal systems และจังหวัดขอนแก่น ซึ่งเป็นศูนย์กลางการผลิตเครื่องดื่มชนิดผงเพื่อส่งออก ทั้งนี้ โรงงานลาดกระบังได้นำระบบ IL6S (Integrated Lean-6 Sigma) เข้ามาใช้ในการบริหารจัดการการผลิตให้มีประสิทธิภาพสูงสุด รวมถึงการนำเอาเทคโนโลยี ระบบออโตเมชัน และคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการผลิต และลดต้นทุนความผิดพลาดให้ได้มากที่สุด
ทั้งนี้ มอนเดลีซมีกำลังการผลิตมากกว่า 39,000 ตันต่อปี แบ่งเป็นลูกอม 60% และหมากฝรั่ง 40% เพื่อจำหน่ายในประเทศไทย 37% และส่งออกไปยัง 15 ประเทศทั่งเอเชียแปซิฟิก ตะวันออกกลาง และแอฟริกาครอบคลุมอาเซียน จีน ญี่ปุ่น เกาหลี นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย และแอฟริกาใต้ อีก 63% อีกทั้งยังเป็นศูนย์กลางของการลงทุนเพื่อขยายและพัฒนาสินค้าใหม่ด้วยเงินลงทุนกว่า 450 ล้านบาทต่อปี แบบครบวงจรอีกด้วย
คุณจิรพงษ์ กล่าวต่อไปอีกว่า ตลาดที่สร้างรายได้ให้มอนลีซที่ใหญ่สุดคือ มาเลเซีย และเวียดนาม ขณะที่อินโดนีเซีย ไทย และฟิลิปปินส์ คือตลาดที่จะสร้างโอกาสให้บริษัทได้มากในอนาคต โดยยุทธศาสตร์สำคัญที่มอนลีซ จะใช้รุกตลาดในภูมิภาคนี้ เพื่อสู่กับคู่แข่ง คือการครีเอทแคมเปญที่เหมาะสมในแต่ละช่วงเวลา โดยจะผนึกกำลังกับพันธมิตรค้าปลีก และช่องทางการจำหน่ายให้หลากหลาย รวมถึงขยายกลุ่มผลิตภัณฑ์ เพื่อเพิ่มทางเลือกให้ลูกค้า และยังเป็นการเพิ่มมูลค่าให้ใหญ่ขึ้นด้วย
สำหรับจุดเด่นของโรงงานมอนเดลีซ อินเตอร์เนชันแนล นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง เป็นหนึ่งในโรงงานสีเขียวโดยเน้นการดำเนินงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อลดการใช้พลังงานได้มากกว่า 37% ส่งผลให้สามารถลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง 64% หรือประมาณ 14,220 ตันต่อปี และลดต้นทุนการผลิตได้มากกว่า 81 ล้านบาท นอกจากนี้โรงงานมอนเดลีซที่ขอนแก่นยังเป็นโรงงานแห่งแรกของมอนเดลีซ อินเตอร์เนชันแนล ที่ใช้พลังงานหมุนเวียน 100%อีกด้วย
อย่างไรก็ดี เป้าหมายของโรงงานมอนเดลีซไม่ได้จำกัดเพียงแค่การควบคุมขบวนการผลิตอย่างเข้มงวด เพื่อให้ได้คุณภาพของผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานของมอนเดลีซเท่านั้น แต่ยังให้ความสำคัญกับการพัฒนาประสิทธิภาพและทัศนคติของพนักงาน รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภคในแต่ละประเทศ คุณจิรพงษ์ กล่าวทิ้งท้าย
関連記事
泰日工業大学 ものづくりの教育現場から
第56回『タイ的民主主義と新憲法の特徴』
タイでものづくり教育を進める泰日工業大学(TNI)の例をもとに、中核産業人材の採...