GO!GO! タイローカル工場
第54回 再生プラスチック工場 SUEZ CIRCULAR POLYMER (THAILAND)
仏スエズが再生プラ工場開設 プラごみ問題に取り組むタイを後押し
フランスの水処理・廃棄物処理大手のスエズが、サムットプラカン県バンプリーに廃プラスチックのリサイクル工場を開設した。これまで欧州を拠点としていた同社にとって、アジアで初の工場となる。廃プラをパイプやポリ袋などに再生し、持続可能な発展と循環型経済を促進する。素材最大手サイアム・セメントと販売で提携しており、同社がリサイクル後の再生原料を東南アジアで販売する。 新工場を運営するスエズ・サーキュラー・ポリマー(タイランド)のジェロム・レ・ボルネ地域担当取締役は次のように語った。 「当社の事業理念は大気汚染を軽減し、環境浄化を進めることです。現在、廃プラの処理が喫緊の課題となっており、1100万トンもの廃プラが海洋投棄されています。その多くがアジア海域で、2040年には海洋投棄が現在の3倍に増えると予測されています。ところが現状では、プラスチック製品のわずか9%がリサイクルされているに過ぎません。タイは廃プラの多さでは世界の首位グループに入ります。タイでリサイクルされるプラスチックの多くはペットボトルであり、LDPEのリサイクル率は極めて低い。こうした状況を勘案して、当社はタイにリサイクル工場を開設しました」 新工場の敷地面積は1万4000平方メートル、年産能力3万トン。フィルムや包装用途に使う低密度ポリエチレン(LDPE)や、直鎖状低密度ポリエチレン(LLDPE)を再生する。LDPEを再生処理できる工場としては国内最大級となる。工場は環境に配慮した造りになっており、屋根には発電容量1900キロワットピーク(kWp)の太陽光発電設備を設置。太陽光発電と廃プラのリサイクルで得られる温室効果ガスの削減量は年3万5000トンで、植樹で換算すると150万本に相当する。また工場で使用する水も94%を再利用するという(年123万立方メートルを節水できる計算)。 同社のデビッド・ブルジェGMは次のように語った。 「廃プラを1000トン処理することで、5バレルの原油輸入を減らせます。CO2なら1.6トン削減となります。スエズは世界の9工場あわせて年間40万トンの廃プラを処理し、15万トンの再生プラスチックを生産しています」
SUEZ เปิดโรงงานรีไซเคิล พลาสติกแห่งแรกในเอเชีย
บริษัท สุเอซ เซอร์คูล่า พอลิเมอร์ (ประเทศไทย) จำกัด เปิดดำเนินการโรงงานพอลิเมอร์หมุนเวียนแห่งแรกในเอเชียอย่างเป็นทางการ ที่อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ตอกย้ำความมุ่งมั่นในการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมสู่การสร้างสังคมที่ยั่งยืนท่ามกลางสภาวการณ์ที่ท้าทายจากการระบาดของไวรัสโควิด-19โดยโรงงานรีไซเคิลพลาสติกแห่งนี้จะสามารถแปรรูปขยะจากบรรจุภัณฑ์พลาสติก 30,000 ตันต่อปี เป็นเม็ดพลาสติกใช้ใหม่ (Post-Consumer Recycled – PCR) ซึ่งจะช่วยลดผลกระทบจากวิกฤตมลภาวะพลาสติกในระยะยาว
คุณเฌอโรม เลอ บอร์กเนีย ผู้อำนวยการประจำภูมิภาค บริษัท สุเอซ เซอร์คูล่า พอลิเมอร์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่าทางบริษัทมีเป้าหมายด้านความยั่งยืน เพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทั้งนี้ เป็นที่ทราบกันดีว่าปัญหาขยะพลาสติกในมหาสมุทรเป็นปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนโดยปัจจุบันมีการทิ้งขยะลงในมหาสมุทรมากกว่า 11 ล้านตัน ซึ่งปริมาณขยะกว่า 11 ล้านตันเป็นปริมาณขยะในมหาสมุทรทั่วโลก และขยะที่ถูกทิ้งส่วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชีย แต่ตัวเลขที่เห็นวันนี้ยังไม่ใช่สิ่งที่เลวร้ายที่สุด เพราะว่าตามการคาดการณ์หากยังคงมีการทิ้งขยะในอัตรานี้อย่างต่อเนื่องคาดว่าภายในปี 2040 จะมีขยะในมหาสมุทรเพิ่มขึ้นเป็น 3 เท่าของปัจจุบัน ตามที่ตัวเลขที่ได้กล่าวไปข้างต้น การผลิตพลาสติกในโลก มีพลาสติกที่สามารถรีไซเคิลได้มีแค่ 9% จากจำนวนทั้งหมดที่มีการผลิต ส่วนประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีขยะพลาสติกมากเป็นอับดับต้นๆ ของโลกแต่มีการนำขยะพลาสติกไปรีไซเคิล 25% ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพลาสติกPET ส่วน LDPE มีการนำไปรีไซเคิลน้อยมาก ดังนั้น จากปัญหาทั้งหมดที่ได้กล่าวไปข้างต้น เราจึงต้องวางแผนระยะยาวเปิดโรงงานพอลิเมอร์หมุนเวียนในประเทศไทยเป็นโรงงานแห่งที่ 9 ของ SUEZ ซึ่งเป็นโรงงานแห่งแรกที่อยู่นอกทวีปยุโรป โดยจะช่วยส่งเสริมให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เกิดเศรษฐกิจหมุนเวียน และพลิกวิกฤตมลภาวะพลาสติก เพื่อให้เราสามารถเข้าใกล้วันที่มหาสมุทรจะไร้ซึ่งพลาสติกไปอีกก้าวหนึ่ง คุณดาวิด บูร์ช ผู้จัดการทั่วไป บริษัท สุเอซ เซอร์คูล่า พอลิเมอร์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า โรงงานพอลิเมอร์หมุนเวียนของสุเอซ จะทำการรีไซเคิลพลาสติกโพลิเอทิลีนความหนาแน่นต่ำ (LDPE: Low Density Polyethylene) และขยะฟิล์มพลาสติก โพลิเอทิลีนความหนาแน่นต่ำเชิงเส้น (LLDPE: Linear Low Density Polyethylene) โดยนับเป็นโรงงานรีไซเคิล LDPE ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย ด้วยมาตรฐานสูงสุดตามระเบียบข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อม โดยโรงงานรีไซเคิลพลาสติกแห่งนี้จะสามารถแปรรูปขยะจากบรรจุภัณฑ์พลาสติก 30,000 ตันต่อปี เป็นเม็ดพลาสติกใช้ใหม่ (Post-Consumer Recycled – PCR) มีกำลังการผลิต 23,000 ตันต่อปี ทั้งนี้ โรงงานแห่งนี้มีอัตราการบำบัดน้ำเสีย เพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ได้ถึง 94% ทำให้สามารถลดการใช้น้ำได้ถึง 1,230,000 ลูกบาศก์เมตรต่อปี อีกทั้งเรามีแผนติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปหรือระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคาที่มีกำลังในการผลิตไฟฟ้า 1.9 MWp เมื่อรวมกับการรีไซเคิลพลาสติกในกระบวนการผลิต PCR จะช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในประเทศไทยสู่ชั้นบรรยากาศได้ประมาณ 35,000 ตันต่อปี เทียบได้กับการปลูกต้นไม้กว่า1.5 ล้านต้น นอกจากนี้โรงงานแห่งนี้ยังได้รับการสนับสนุนจากห้องปฏิบัติการด้านนวัตกรรมพลาสติก PLAST’lab® จากประเทศฝรั่งเศส เพื่อช่วยกำหนดมาตรฐานและวัดผลการผลิตพลาสติกรีไซเคิล PCR ให้เป็นไปตามความต้องการของลูกค้า ทั้งนี้ ในการผลิตพลาสติกรีไซเคิล 1,000 ตัน จะสามารถลดปริมาณการใช้น้ำมันได้ถึง 5 บาร์เรล ซึ่งเท่ากับปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์จำนวน 1.6 ตัน ในแต่ละปีโรงงานของสุเอซสามารถแปรรูปขยะพลาสติกเกือบ 400,000 ตันจากโรงงานเฉพาะทางทั้ง 9 แห่งทั่วโลก สามารถผลิตพอลิเมอร์หมุนเวียนได้ประมาณ 150,000 ตัน
2021年2月1日掲載
関連記事
泰日工業大学 ものづくりの教育現場から
第88回 『技術系学生の日本語習得指導』
タイでのものづくり教育を進める泰日工業大学(TNI)の例をもとに、中核産業人材の...
泰日工業大学 ものづくりの教育現場から
第106回 『ホズミ・スピリットの現代的意義』
タイでのものづくり教育を進める泰日工業大学(TNI)の例をもとに、中核産業人材の...
泰日工業大学 ものづくりの教育現場から
第70回『タイの長期展望と日系企業のビジネス』
タイでものづくり教育を進める泰日工業大学(TNI)の例をもとに、中核産業人材の採...