SANALLOY INDUSTRY (THAILAND) CO., LTD.

流動化する国際市場だからこそ タフネスで屈強な組織作りを

超硬合金素材メーカー「サンアロイ工業」(兵庫県福崎町)のタイ法人SANALLOY INDUSTRY (THAILAND)CO., LTD.は、来年2020年が設立15周年。また一つ、節目の年を迎える。この間、自動車産業の集積地であるタイは、日系企業の進出ラッシュに沸き、100年に一度という未曾有の大洪水に見舞われ、その後の復興景気に伴って中国からの工場移管の動きもあるなど、市場は常にダイナミズムの渦中にあった。予測が困難な流動化の時代に突入したと言ってもよい。こうした中、中本 和徳Managing Director率いる同社タイ法人が取り組んで来たのは、顧客ニーズの発掘やアフターケアの強化はもとより、不測の事態にも負けないという組織作りだった。「タフネスで屈強な会社組織」。その目的と目指す先のものについて中本MDらに話を聞いた。

■混沌とした国際情勢

産業の基礎を支える素材メーカーにとって、希少金属を始めとした各種素材の国際相場は常に関心の的。市場の乱高下や思惑買いなどがないか、緊張の糸を張り巡らせながら事業に臨まねばならない。市場価格が吊り上がれば顧客は購入を躊躇するだろうし、事業計画の見直しにも及ぶ。適正在庫保持の観点からも、国際市場と顧客企業の動向の把握は素材メーカーの生命線と言えた。

国際政治による影響も少なくない。巨大市場中国をめぐっては、世界の覇者アメリカが貿易不均衡を訴え混乱に拍車をかけている。欧州市場もイギリスのEU離脱と、市場を牽引してきたドイツ・メルケル政権の影響力低下で将来的な視界は霧の中だ。

ひるがえって東南アジアの工業国タイは、5年ぶりの民政復帰に向かっているとは言うものの、政治的なリスクは依然として残ったまま。連立政権の行方にも不安が残り、早くも閣内不一致の可能性がニュースなどで取り沙汰されている。八方塞がりにも似た混沌とした情勢の下で、企業各社は自らの事業展開を余儀なくされている。

■組織としての〝肉体改造〟

こうした環境下にあって、同社が第一に取り組んでいるのが組織としての〝肉体改造〟だ。社内の「無理・無駄・ムラ」を徹底的に排除。「1分でも、1秒でも早くモノを作り上げる体制を目指す」(中本MD)とする。「それはつまり、仕事の仕掛かりを早くするということだ」とも。

そのために、まず大切にしなければならないとしたのが、毎日の始業前にある準備時間の使い方だった。漫然とチャイムを待つのではなく、身の回りの整理整頓や掃除から始めようと呼びかけた。日本人の幹部社員も加わった掃除当番表も作った。毎日の冒頭に行われていたミーティングも操業開始8時半までに終わらしておこうと提案した。

結果、今年前半から始まった取り組みは徐々に浸透をし、生産ラインの現場のみならず事務部門を含む全事業所内に行き渡るまでに。生産性は自ずと向上、事業所内のゴミも減って、「無理・無駄・ムラ」もこれまで以上に減少した。

■ 改革への内なる動機

中本MDがここまで組織作りにこだわるのには訳がある。素材メーカーは製造業のいわば川上。川中や川下の市場に、いつ何時予測不能の事態が発生するとも限らない。ゆえに事業年度をまたぐような精緻な事業計画も立てにくい。需要を予測することも難しい。こうした不安定で外部環境に左右されやすいポジションが、内なる改革への動機となって現れていると中本MDは解説する。  間もなく赴任丸3年となるGeneral Managerの高田 靖仁氏も同様のことを考えている。配下のリーダーやサブリーダーには「与えられた仕事をこなすのではなく、自分から考えて動くように」と口を酸っぱくして指導を繰り返してきた。それが最近になって、一人、また一人と見違えるような行動を取るようになった。「ようやくここまで来た」と目を細める毎日だ。

営業面を統括するSales Managerの酒本 陽輔氏も、日本人、タイ人ともども社員全員のスキルアップが欠かせないと指摘する。一見して単純作業に見えるものでも、組織を横断することで見えるものがあると具体例を挙げる。「これまで日本人しか担当してこなかった分野を、徐々にタイ人スタッフに移管していくのも我々の大事な仕事だと考えている」と話した。

厳しい検査態勢と高品質素材によって顧客の信頼を育んできたサンアロイの超硬合金事業。時代は流動化した混沌とした中にあっても、組織としての強靱化をさらに進めることで、厳しい国際情勢を乗り越えていけるとの力強いメッセージと感じた。同社の今後の展開が楽しみだ。
SANALLOY INDUSTRY (THAILAND) CO., LTD.
7/360 Moo6, Amata City Industrial Estate, Tambol Mabyangporn, Amphur Pluakdaeng, Rayong, 21140

酒本       yo-sakamoto@sanalloy.co.jp     Mobile 081-780-3913

ORN       a-orn@sanalloy.co.th                 Mobile  081-947-4288

Tel 038-027-434      Fax 038-027-438       Website http://www.sanalloy.co.jp

เพราะตลาดทั่วโลกที่มีความผันผวน จึงต้องทำบริษัทให้เข้มแข็งและมั่นคง

ในปีหน้า (ค.ศ.2020) จะครบรอบ 15 ปี ก่อตั้งบริษัท SANALLOY INDUSTRY (THAILAND) จำกัด ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ซีเมนต์คาร์ไบด์ (บริษัทแม่ Sanalloy Industry เมืองฟุคุซากิ จังหวัดเฮียวโกะ)  ในปีหน้าก็จะเข้าสู่ปีแห่งการเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง จากการที่ประเทศไทยซึ่งเป็นแหล่งผลิตรถยนต์ที่มีบริษัทญี่ปุ่นเข้ามาเปิดโรงงานเป็นจำนวนมาก ได้ประสบภัยน้ำท่วมครั้งใหญ่ที่สุดในรอบ 100 ปี  หลังจากผ่านไปได้สักระยะก็เข้าสู่ระยะฟื้นตัวซึ่งเป็นช่วงเดียวกันกับการย้ายโรงงานจากประเทศจีนมายังประเทศไทย ทำให้ตลาดในไทยสามารถกลับมาคึกคักได้อีก  จะเรียกได้ว่าถูกจู่โจมจากสภาพในตลาดที่คาดเดาได้ยากก็ว่าได้ ในสถานการณ์เช่นนี้ บริษัทลูกในไทยนำโดยคุณนากาโมโตะ คาสุโนริ (MD) ใช้วิธีการโดยเริ่มจากเน้นการค้นหาและตอบรับความต้องการของลูกค้าและการดูแลหลังการขาย และสร้างองค์กรที่สามารถอยู่ทนต่อความไม่แน่นอนที่ไม่สามารถคาดเดาได้  “องค์กรที่เข้มแข็งและมั่นคง” เรามาฟังจาก คุณนากาโมโตะ(MD)กันว่าอะไรคือจุดประสงค์และเป้าหมายของคำพูดนี้

■ สถานการณ์ระหว่างประเทศที่ยังไม่แน่นอนและไม่ชัดเจน

สำหรับผู้ผลิตวัตถุดิบพื้นฐานสำหรับการผลิตแล้ว ตลาดสากลของวัสดุประเภทต่างๆเช่นโลหะที่หาได้ยากนั้นมักจะดึงความสนใจอยู่ตลอด  ไม่ว่าจะมีการตกลงของราคาในตลาดอย่างรุ่นแรงหรือการเก็งกำไรหรือไม่นั้นก็ต้องมุ่งหน้ากับงานต่อไปท่ามกลางความตึงเครียด  ถ้าหากราคาตลาดปรับขึ้นลูกค้าก็อาจจะเริ่มลังเลในการซื้อหรืออาจจะถึงกับต้องทบทวนแผนการผลิตใหม่  ถ้าหากราคาตลาดปรับขึ้น ลูกค้าก็อาจจะเริ่มลังเลในการซื้อหรืออาจจะถึงกับต้องทบทวนแผนการผลิตใหม่  ในมุมมองของการรักษาสต๊อกให้เหมาะสมก็เช่นกัน สามารถกล่าวได้ว่าการทำความเข้าใจแนวโน้มของตลาดและลูกค้าถือเป็นเรื่องสำคัญขนาดคอขาดบาดตาย

และนอกจากนี้อิทธิพลของรัฐบาลก็มีไม่น้อย  ยักใหญ่ในตลาดอย่างจีนนั้นก็ยังมีความวุ่นวายอย่างต่อเนื่องจากการโจมตีในเรื่องความไม่สมดุลในด้านการค้าจากมหาอำนาจโลกอย่างอเมริกา ผลกระทบอื่นๆอย่างเช่นการแยกตัวจาก EU ของอังกฤษและผู้นำในตลาดอย่างเยอรมันที่อำนาจทางการเมืองของอังเกราแมร์เคิลลดลง ทำให้วิสัยทรรศน์ในการคาดการข้างหน้าค่อนข้างมืดบอด

ในอีกด้านนึงประเทศอุสาหกรรมในอาเชียนอย่างไทยนั้น ถึงแม้จะกำลังกลับคืนสู่ระบบประชาธิปไตยในรอบ 5 ปีนี้ ความเสี่ยงที่มาจากรัฐบาลก็ยังคงอยู่ แนวโน้มรัฐบาลร่วมก็ยังคงมีความไม่แน่นอนและยังมีข่าวเกี่ยวกับโอกาสที่คณะรัฐมนตรีจะมีความไม่ลงรอยกัน  บริษัทต่างๆ จึงต้องขยายกิจการภายใต้สภาพการณ์ที่วุ่นวายอย่างไม่มีทางเลือก

■ "การสร้างโครงสร้างภายใน" ในระดับองค์กร

ภายใต้สถานการณ์นี้ สิ่งที่บริษัทเรากำลังแก้เป็นอันดับแรกคือ“การสร้างโครงสร้างภายใน”เราจะกำจัด “Muri Muda Mura” ภายในบริษัทให้สิ้นซาก (Muri คือการฝืนทำ Muda คือความสูญเปล่าและ Mura คือความไม่สม่ำเสมอ) “เรามุ่งมั่นสร้างระบบการผลิตที่มีความรวดเร็วขึ้น แม้เพียง 1 นาที หรือ 1 วินาทีก็ตาม” คุณนากาโมโตะ(MD)กล่าวไว้ “ซึ่งหมายความว่า เราจะทำให้การทำงานเริ่มต้นไวขึ้น”

เพื่อทำสิ่งนี้ให้สำเร็จ สิ่งที่เราต้องให้ความสำคัญเป็นอันดับแรกคือการใช้เวลาก่อนเริ่มทำงานในทุกๆ วันเพื่อเตรียมตัวเริ่มต้นจากการเอาเวลาที่เรานั่งรอเข้างานเฉยๆ มาใช้ทำความสะอาดหรือจัดสิ่งรอบๆ ตัวให้เป็นระเบียบ  ผู้บริหารชาวญี่ปุ่นที่เป็นแกนหลักทำตารางเวรทำความสะอาดขึ้น นอกจากนี้ก็มีไอเดียให้การประชุมตอนเช้าของทุกวันเสร็จภายใน 8 โมงครึ่ง

ผลลัพท์ที่ได้คือสิ่งต่างๆ ที่ได้เริ่มทำมาตั้งแต่ช่วงต้นปี ได้ถูกซึมซาบทีละนิดไม่เพียงแค่ในไลน์การผลิตเท่านั้น แต่ได้กระจายไปทั่วทุกฝ่ายรวมถึงฝ่ายธุรการด้วย ความสามารถในการผลิตสูงก็ขึ้นเอง ขยะในสถานที่ทำงานก็ลดลง “Muri Muda Mura” ก็ลดลงกว่าเดิมเป็นอย่างมาก

■ ที่มาของการปฏิรูปภายในองค์กร

การที่คุณนากาโมโตะ(MD)ให้ความสำคัญกับการสร้างองค์กรจนถึงตอนนี้นั้นมีเหตุผลอยู่ ผู้ผลิตวัตถุดิบเป็นต้นน้ำของอุตสาหกรรมการผลิต  สภาพการณ์ที่ไม่สามารถคาดการณ์อะไรได้ของตลาดช่วงกลางน้ำและปลายน้ำนั้นจะเกิดขึ้นมาเมื่อไหร่ก็ได้  ทำให้การสร้างแผนธุรกิจอย่างละเอียดถึงขั้นวางแผนข้ามปีนั้นเป็นไปได้ยาก  การคาดการณ์อุปสงค์ก็เป็นเรื่องยาก  สภาพการณ์ที่ไม่มั่นคงเหล่านี้ทำให้บริษัทอยู่ในจุดที่ถูกควบคุมจากสภาพแวดล้อมภายนอกได้ง่ายซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นให้เกิดการปฏิรูปภายในองค์กรครั้งนี้ คุณนากาโมโตะ(MD)ได้อธิบายไว้

คุณทาคาตะ ยาสึฮิโตะ ผู้เป็นผู้จัดการทั่วไปมาเกือบ 3 ปีก็กำลังคิดเรื่องเดียวกันอยู่และพูดย้ำกับลูกน้องที่เป็นระดับหัวหน้าและรองหัวหน้าเสมอๆว่า “อย่าทำงานเพราะถูกสั่ง แต่ให้คิดและเริ่มทำจากตนเอง” ซึ่งปัจจุบันนี้การทำงานของพวกเขาเปลี่ยนไปเหมือนเป็นคนละคน  ทำให้เขายิ้มดีใจได้ทุกวันว่า “สุดท้ายก็มาถึงจุดนี้ได้”    คุณซากาโมโตะ โยสึเกะ ผู้จัดการฝ่ายขายและดูแลภาพรวมของการขายทั้งหมดก็ชี้ให้เห็นว่าการพัฒนาความสามารถให้พนักงานทั้งชาวไทยและชาวญี่ปุ่นเป็นเรื่องที่ขาดไม่ได้ถึงแม้ว่าจะดูเหมือนเป็นที่ง่ายๆ แต่ก็เป็นการปรับปรุงการทำงานภายในองค์กรให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น “ผมคิดว่าการถ่ายโอนงานที่คนญี่ปุ่นดูแลอยู่ให้สตาฟคนไทยทีละนิดเป็นงานที่สำคัญของพวกผม” คุณซากาโมโตะได้กล่าวไว้

ด้วยการตรวจสอบที่เข้มงวดและวัตถุดิบที่มีคุณภาพสูงทำให้บริษัท SANALLOY ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ซีเมนต์คาร์ไบด์แห่งนี้ได้รับความไว้วางใจจากลูกค้ามาโดยตลอด  ยุคสมัยที่อยู่ท่ามกลามความวุ่นวายที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ  รับรู้ความรู้สึกที่แรงกล้าว่าการสร้างองค์กรให้เข้มแข็งมากขึ้นจะทำให้เราสามารถก้าวข้ามสถานการณ์ที่ยากลำบากที่เกิดขึ้นอยู่ทั่วโลกได้และเฝ้ารอดูการเติบโตของบริษัทหลังจากนี้อยู่

  • Facebook
  • twitter
  • line

関連記事